หน้าเว็บ

วันจันทร์ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

Assignment4


Assignment 4
1.ให้น.ศ.ศึกษาgadgetต่างๆเพื่อหาคำตอบว่าการใช้งานในgadgetนั้นๆสามารถทำอะไรได้บ้างและอย่างไร
2.ให้น.ศ.สร้างgadget เพิ่ม 1 อย่างจากที่ได้ศึกษาจากข้อ 1

    นำเสนองานในชั้นเรียนคราวหน้า เพื่อให้เพื่อนๆได้รับรู้ร่วมกัน


เกี่ยวกับปุ่ม +1
+1 คือวิธีแสดงความชื่นชอบต่อสิ่งต่างๆ ที่คุณสนใจบน Google+ หรือเว็บไซต์โปรดของคุณ เมื่ออ่านโพสต์แล้วคุณต้องการเปล่งเสียงยินดี +1 คือเสียงปรบมือของคุณ เมื่อดูวิดีโอแล้วขำจนท้องแข็ง +1 คือเสียงหัวเราะของคุณ เมื่อเห็นรูปภาพที่จับความพิเศษของช่วงเวลาได้อย่างไร้ที่ติ +1 คือการแสดงว่ารูปนั้นมีคุณภาพระดับ 5 ดาว



+1's on Google+เมื่อ +1 โพสต์บน Google+ ผู้สร้างโพสต์และคนอื่นๆ ที่ได้รับแชร์โพสต์นั้นจะเห็น +1 ของคุณ โดยผู้สร้างโพสต์จะได้รับการแจ้งเตือนว่าคุณ +1 โพสต์ดังกล่าว

หากต้องการลบ +1 ก็เพียงคลิกปุ่ม +1 อีกครั้ง











+1's outside of Google+
เมื่อ +1 เนื้อหาบนเว็บไซต์ ระบบจะรวม +1 ของคุณกับจำนวนการนับ +1 ที่แสดงอยู่ เมื่อมีคนในแวดวงเดียวกับคุณดูเนื้อหาที่คุณ +1 ไว้ ระบบอาจไฮไลต์ +1 ของคุณข้างๆ จำนวน +1 การแสดง +1 เป็นสาธารณะ ดังนั้นจึงควรระลึกเสมอว่าควร +1 เฉพาะเพจที่คุณยินดีแชร์คำแนะนำกับคนอื่นๆ ทั่วโลกเท่านั้น
เมื่อ +1 เนื้อหาบนเว็บ คุณจะสามารถแชร์เนื้อหานั้นกับแวดวงใน Google+

แท็บ +1
ระบบจะรวบรวม +1 ทั้งหมดของคุณในแท็บ +1 บนโปรไฟล์ Google+ ของคุณ โดยจะแสดงเป็นแบบสาธารณะ หากคุณตัดสินใจเลือกแสดงแท็บ +1 คุณสามารถเลือกได้ว่าต้องการแชร์ข้อมูลใด
หากต้องการดูแท็บนี้ ให้ไปที่   โปรไฟล์ของคุณและคลิกแท็บ +1
หากต้องการลบรายการที่ +1 ไว้ โปรดคลิกเครื่องหมาย x ทางขวาของสรุปการ +1 หากเคยแชร์เนื้อหาที่คุณได้ +1 ไว้ การลบ +1 จากแท็บ +1 จะลบ +1 จากเนื้อหานั้น แต่จะไม่ลบโพสต์ที่เคยแชร์ไว้บน Google+





การตั้งค่าการเปิดหรือปิดใช้งาน +1 บนไซต์ที่ไม่ได้เป็นของ Google
คุณสามารถปรับเปลี่ยนการตั้งค่านี้โดยไปที่ plus.google.com/+1/personalization โดยตรง หรือโดยประกอบการตั้งค่าบัญชีของคุณดังนี้
2.             เลือก Google+ จากแถบด้านข้าง
3.             คลิกแก้ไข ในส่วน "Google +1"
4.             เลือกเปิดใช้งานหรือปิดใช้งาน
5.             คลิกบันทึก

+1 button errors
ถ้าปุ่ม +1 ไม่สามารถใช้งานได้ หรือไม่ทำงาน คุณจะเห็นภาพต่อไปนี้
ปุ่ม +1 ผิดพลาดอาจมีสามารถมาจากหลายกรณี เช่น
·         หมดเวลาของเซิร์ฟเวอร์ - ตรวจสอบการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตและลองรีเฟรชเพจใหม่
·         โปรไฟล์ถูกระงับ - หากโปรไฟล์ถูกระงับ คุณจะไม่สามารถ +1 เนื้อหาได้
·         ผู้ใช้ Apps: ถ้าผู้ดูแลระบบของคุณยังไม่ได้เปิดใช้งาน Google+ สำหรับโดเมนของคุณ คุณจะไม่สามารถลงชื่อเข้าใช้บัญชี Google+ เพื่อใช้ปุ่ม +1
·         คุกกี้ที่ถูกบล็อก - ถ้าคุณปิดใช้งานคุกกี้ของบุคคลที่สามในเบราว์เซอร์ของคุณ คุณจะไม่สามารถใช้ปุ่ม +1
หากคุณออกจากระบบ Google+ แล้ว ระบบจะเตือนให้คุณกลับเข้าสู่ระบบอีกครั้ง เมื่อคลิกปุ่ม +1



1. ไปที่ www.blogger.com เลือกบล็อกที่ต้องการ แล้วเข้าไปยังเมนู [รูปแบบ]




2. คลิกที่ปุ่มเพิ่ม Gadget ในตำแหน่งที่ต้องการ




 3. เลือก Gadget ที่ต้องการ


 4. ตัวอย่างเลือก ปุ่ม +1



 5. ตั้งค่า Gadget ที่เราเลือก จากนั้นกดที่ปุ่ม [บันทึก]



 6. Gadget ที่เราเลือกจะถูกเพิ่มไปยังตำแหน่งที่ต้องการ



 7. หากต้องการเรียงลำดับ Gadget ให้ลากปุ่ม  หน้า Gadget ไปยังตำแหน่งที่ต้องการ






 8. เมื่อเรียงลำดับเสร็จแล้วให้คลิกที่ปุ่ม [บันทึกการจัดเรียง]


 Gadget ก็เห็นมาใหม่ 2 Gadget แกดจิดแรกจะเป็น ปุ่ม +1 พูดกันให้เข้าใจง่ายๆเลยก็คล้ายๆปุ่มกดไลน์เฟสบุ๊คนี้แหละค่ะ พอมีคนกดปุ่ม +1 ให้เราก็เหมือนเขาได้แนะนำเนื้อหาในบล็อกของเราให้คนอื่นรู้จักและยังช่วยแบ่งปันใน Google+ อีกด้วยค่ะ

  Gadget ปุ่ม +1 ก็ไม่มีอะไรมากค่ะ เพียงแค่คุณเลือกขนาดและรูปแบบตามความต้องการค่ะ

วันจันทร์ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

การบ้าน

Assignment 3

ให้นักศึกษาเขียนระบบการสอนวิชาใดก็ได้ ในสาขาวิขาสังคมศึกษา 1ระบบ ตามหลัง I P O ในแต่ล่ะองค์ประกอบให้นักศึกษาอธิบายรายละเอียดแต่ล่ะองค์ประกอบนั้นๆมาด้วย







ระบบการสอนวิชาประวัติศาสตร์ไทย


Input

1.ค้นหาข้อมูลในการเตรียมการสอน

2.  หนังสือเรียน

3.เอกสารประกอบการเรียน

4.ทำสื่อ หรือ วิดีโอเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทย

5.กิจกรรมในชั้นเรียน


Process
1.แบบฝึกหัด , การบ้าน
2.มอบหมายทำงานเดี่ยว
3.จัดกิจกรรม
4.สอบกลางภาค
5.ทัศนศึกษา
6.การสอน
7.สอบปลายภาค
8.การวัดและการประเมินผล

Output

1.ความรู้ที่ได้จากรายวิชา
2.ผลคะแนนของผู้เรียน
3.เกรดของนักเรียนแต่ละคน
4.นำความรู้ไปใช้ได้


1. Input =  ความรู้ในรายวิชาประวัติศาสตร์ไทย มีความสำคัญกับคนรุ่นหลังเพื่อที่จะให้ผู้ที่ศึกษาเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ดังนั้นผู้เรียนจึงควรทำความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทยของวิชาประวัติศาสตร์ไทยอย่างถ่องแท้
2. Process =  ทำการศึกษาในรายวิชานี้แล้ว ผู้เรียนต้องสามารถอธิบายความเป็นมาประวัติศาสตร์ของไทยได้
3. Output =  สามารถนำความรู้ของวิชาประวัติศาสตร์ไทย  สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการศึกษาต่อไปได้อีกและอาจนำความรู้ที่เราได้ไปเล่าสู้คนอื่นๆหรือคนรุ่นหลังได้